'ชุมพล เอกสมญา' ลูกวีรบุรุษ แม้เขาเจ็บปวด..แต่ไม่ยอมเป็นเหยื่อสมุนแม้ว!? Posted by Nity , ผู้อ่าน : 848 , 04:20:21 น. หมวด : การเมือง พิมพ์หน้านี้
ไว้อาลัยแด่ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา วีรบุรุษบันนังสตา..!!เคยเขียนถึงการร้องเรียนของผู้กำกับฯสมเพียรเรื่องการโยกย้ายไม่เป็นธรรม http://www.oknation.net/blog/nity/2010/02/23/entry-1วานนี้(14 มี.ค.) บุตรชายคนโตของ พ.ต.อ.สมเพียร อย่าง ชุมพล เอกสมญา หรือ จิรพัชช์ ภูวพงษ์พิทักษ์ เผยกับสื่อในงานศพพ่อเกี่ยวกับเรื่องการตายจากเหตุก่อการร้าย3จังหวัดชายแดนใต้“ตอนแรกที่ผมทราบข่าวพ่อตาย ผมโกรธนะ อยากจะเป็นตำรวจสานต่อจากพ่อทันที มาคิดดูแล้ว น้องเราอีกคนมีความสามารถมากกว่า เขาเคยเป็นทหารพราน ส่วนผมก็มีกีตาร์เป็นอาวุธ และยังมีสวนยางไว้รอพ่อให้พ่อมาพักหลังจากเกษียณอายุราชการ สิ่งที่ผมจะบอกอย่างหนึ่งว่า ตำรวจไทยในภาคใต้ หลังจากเกษียณอายุราชการรัฐบาลไม่เคยหาอะไรรองรับพวกเขาเลย บางคนสายตาฝ้าฟางก็โดนโจรยิงทิ้ง เป็นที่รู้กันดีในภาคใต้ ผมก็หวังไว้ว่าจะให้พ่อมาพักผ่อนหลบโจร แต่ก็ไม่มีโอกาสแล้ว ก็อยากให้รัฐบาลสนใจเรื่องนี้ด้วย” ชุมพล กล่าว และยังกล่าวอีกว่าจะสามารถสานต่อเจตนารมณ์ของพ่อได้น่าจะเป็นการแต่งเพลง หนังสือหรือบทกวี ในสิ่งที่สังคมยังไม่รับรู้ชีวิตตำรวจใต้ เพลงบันนังสตา ผมก็แต่งให้ ตั้งแต่พ่อมีชีวิตอยู่ส่วนกรณีต่อจากจตุพร พรหมพันธ์ แกนนำคนเสื้อแดงให้ขึ้นเวที1 ชม. เพื่อพูดถึงพ่อ แต่เป็นความตั้งใจของตนว่า ไม่ขึ้นเวทีเด็ดขาด เพราะไม่อยากให้เรื่องของพ่อสร้างความรุนแรงให้ประเทศ และพ่อคงไม่ต้องการให้ตนทำเช่นนั้น พ่อตนไม่มีสี ไม่มีข้าง ส่วนเจตนารมณ์ของพ่อในการร้องเรียน ส่วนหนึ่งเพื่อลูกน้องเห็นว่า สำนักงานตำรวจแห่งชาติให้ความช่วยเหลือพวกเขาได้ แต่ก็เห็นว่าไม่ได้ และแม่ก็เป็นตัวแปรด้วย ปีสุดท้ายครอบครัวก็ไม่ขออะไรมากมาย แค่อ.กันตัง อ.เล็ก ๆ ที่ไม่มีผกก. มา 5 เดือนแล้ว เพราะพ่อตนยึดคติมาตลอดว่าเวลาทำอะไรต้องไม่ให้ใครเดือดร้อน...อยากกล่าวถึงประเด็น เจตนาบริสุทธิ์ของบุตรชายวีรบุรุษ ที่ไม่อยากให้ใครเอาศพของผู้เป็นพ่อไปหากิน หรือปลุกระดมบนเวที "เสื้อแดง" แม้ว่าจะโกรธระบบเส้นสายราชการ รัฐบาล ที่มีส่วนทำให้พ่อเขาตายก็ตามความเจ็บปวดของครอบครัวเอกสมญา ก็คงได้รับการเยี่ยวยาตามระเบียบราชการ อาจมีเรื่องพิเศษบ้าง แต่นั่น ก็ไม่พอต่อการบรรเทาความสูญเสียผู้นำครอบครัวอันเป็นที่รักไปได้แต่ถ้าเทียบเคียงบางคน.. สูญเสียเงินที่ได้จากการปล้นชาติ แต่กลับเปลี่ยนความแค้นเป็นความชิงชังปลุกระดมคนหลอกมาในคราบประชาธิปไตย หนุนทุนสู้แทนตัวเอง มันดูช่างน่าอนาถใจยิ่งไม่ว่าระบอบอำมาตย์ หรือระบอบทักษิณ ต่างเป็น "ระบบอุปถัมภ์" ที่เหยียบย่ำสิทธิประชาชนทั้งนั้น แต่ถามว่า ระบอบไหนที่คนไทยอยู่อย่างเป็นสุขได้นับพันๆปี ระบอบไหนที่ใช้หลักธรรมเข้ามากำกับผู้มีอำนาจเล่าดังนั้น ดูเหมือน ชุมพล เอกสมญา ไม่ได้แกล้งโง่เป็นเหยื่อสมุนแม้ว และไม่ได้ปิดตาข้างเดียวเอาเกียรติของพ่อไปแขวนไว้บนพวก "นักกินเมือง" จำพวกต่างๆ ด้วย ..นี่จึงการรักษาเกียรติภูมิของพ่อได้อย่างแท้จริง!!
วันพุธที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2553
คนทำงาน กับสิ่งที่ได้รับ
แม้ว่าจ่าเพียร...จะจากไปแล้วที่สี่งหนึ่งที่ยังคาใจกับหลายคน..ว่าทำไมถึงเป็นอย่างที่เห็น..คนทำงานส่วนมากทุกหน่วยงานทุกกรมกอง...ไม่มีคนเห็น..แต่พวกประจบสอพลอ...วัน ๆ เกาะติดนายพวกนี้ส่วนมากได้ดี...แต่ชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น...ฟ้า..ดิน..ย่อมรู้..และไม่มีสิ่งใดที่จะสุขใจเท่ากับคนทำความดี...ถึงตายก็ยังมีคนสรรเสริญ..แต่คนทำชั่วยิ่งนานวันความชั่วยิ่งปรากฏ...วันเวลาจะพิสูจน์ตัวของมันเอง ...สงสารจ่าเพียร..ถ้าวันที่เขาจากไปมีความสุขทางใจมากกว่านี้...แต่นี่เหมือนกับจากไปด้วยหัวใจที่เจ็บปวดจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ..ที่ไม่รู้ว่ารับผิดหรือชอบกันแน่..จากไปด้วยใจที่ร้องไห้.....ความสงสารที่ทุกคนพุดคำนี้ให้ได้ยินจึงขอส่งบทความนี้ให้จ่าเพียรจากไปด้วยดี ให้ไปสู่สุขติภพที่สมบูรณ์....
วันเสาร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2553
ขอสดุดี ...แด่วิถีคนกล้า
เส้นทาง "พ.ต.อ.สมเพียร" 40 ปีรับใช้ชาติ
ที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ วันที่ 13 มีนาคม เรื่องการแต่งตั้งโยกย้ายข้อราชการตำรวจ ระดับ รองบังคับการ จนถึงสารวัตร ประจำปี พ.ศ. 2552 ในสมัยที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และมี พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ จเรตำรวจแห่งชาติเป็น รรท.ผบ.ตร.ได้สิ้นสุดลงวันที่31 ม.ค.53 และให้คำสั่งมีผลวันที่ 16 ก.พ.53 ซึ่งถือว่าเป็นการแต่งตั้งวาระประจำปีที่ล่าช้า และประสบปัญหาเรื่องการวิ่งเต้นซื้อขายตำแหน่งอย่างมากมายเป็นประวัติการณ์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยหนึ่งในผู้ร้องเรียนก็คือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา จ.ยะลา ที่แต่เดิมได้รับการวางตัวให้มาพักผ่อนก่อนเกษียณอายุราชการในปี 2554 เพื่อเป็นการตอบแทนคุณงามความดีที่ได้ทำไว้ตั้งแต่รับราชการในพื้นที่เสี่ยงภัยในสามจังหวัดชายแดนใต้มาเกือบ 40 ปี โดยมี พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงห์แก้ว ที่ปรึกษา สบ.10 ที่คลุกคลี่งานสนามภาคใต้เป็นหัวเรือใหญ่ในการวิ่งเต้นช่วยเหลือขอร้องต่อ ผู้หลักผู้ใหญ่ในรัฐบาลและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แต่ออกที่ออกมาคือ พ.ต.อ.สมเพียร อยู่ที่เดิมคือเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา ต่อไป
สำหรับตำแหน่ง ผกก.กันตัง จ.ตรังที่ พ.ต.อ.สมเพียร ระบุขอย้ายมารับราชการในห้วงสุดท้ายของชีวิต เป็นตำแหน่งที่ว่างลงเมื่อวันที่ 30 ต.ค.52 เนื่องจาก พ.ต.อ.เติม อินทะสะระ ผกก.กันตัง ได้เกษียณอายุราชการไป ซึ่งในบัญชีรายชื่อเดิม พ.ต.อ.สมเพียร ได้รับการวางตัวให้ดำรงตำแหน่งนี้ แต่เนื่องจาก พื้นที่ของ อ.กันตังเป็นพื้นที่ทำเลทองของนักวิ่งเต้นเนื่องจากเป็นเมืองค้าขาย และเป็นท่าเรือสำคัญของจังหวัด นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 จึงส่งนายตำรวจคนสนิทมาลงในตำแหน่งนี้แทน และได้โยก พ.ต.อ.สมเพียร ไปเป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน ซึ่งในตำแหน่งนี้ก็เป็นตำแหน่งที่ว่าง เพราะ พ.ต.อ.นุกูล ไกรทอง ผกก.สภ.เมืองตรัง คนสนิทของ นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น รอง ผบก.จว.ตรัง ไปก่อนล่วงหน้าแล้ว ซึ่งเป็นการเลื่อนนอกวาระแต่งตั้ง แต่ยังคงรักษาราชการแทนในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง อยู่
เรื่องเหมือนว่าจะจบ พ.ต.อ.สมเพียร คงได้เป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง ในวันที่ 16 ก.พ.ที่ผ่าน แต่ยังไม่จบ เมื่อนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ต้องการย้าย ผกก.สภ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ออกจากพื้นที่เนื่องจากไม่ใช่คนของตนเอง และรับตัวผู้กำกับการคนหนึ่งใน จ.นราธิวาส มาเป็นแทน โดยเดิมทีจะส่งผู้กำกับการคนนี้ออกไปแทน พ.ต.อ.สมเพียร ในตำแหน่ง ผกก.สภ.บันนังสตา แต่ผู้กำกับการคนนี้ได้วิ่งเต้นนักการเมืองใหญ่ใน จ.สงขลา และใน จ.ตรัง ขออยู่ในสังกัดตำรวจภูธรภาค 9 ไม่อยากไปอยู่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ทนแรงเสียดทานจากการเมืองไม่ไหวจึงย้ายผู้กำกับการคนนี้มาลงในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน พ.ต.อ.สมเพียร นายตำรวจบ้านนอกที่ไม่มีเส้น เป็นเหตุให้ พ.ต.อ.สมเพียร ต้องกลับไปเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา เพื่อรอเวลาที่จะถูกโจรใต้วางระเบิดและยิงซ้ำจนเสียชีวิตในวันที่ 12 มี.ค.ที่ผ่านมา
ที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ วันที่ 13 มีนาคม เรื่องการแต่งตั้งโยกย้ายข้อราชการตำรวจ ระดับ รองบังคับการ จนถึงสารวัตร ประจำปี พ.ศ. 2552 ในสมัยที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และมี พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ จเรตำรวจแห่งชาติเป็น รรท.ผบ.ตร.ได้สิ้นสุดลงวันที่31 ม.ค.53 และให้คำสั่งมีผลวันที่ 16 ก.พ.53 ซึ่งถือว่าเป็นการแต่งตั้งวาระประจำปีที่ล่าช้า และประสบปัญหาเรื่องการวิ่งเต้นซื้อขายตำแหน่งอย่างมากมายเป็นประวัติการณ์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยหนึ่งในผู้ร้องเรียนก็คือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา จ.ยะลา ที่แต่เดิมได้รับการวางตัวให้มาพักผ่อนก่อนเกษียณอายุราชการในปี 2554 เพื่อเป็นการตอบแทนคุณงามความดีที่ได้ทำไว้ตั้งแต่รับราชการในพื้นที่เสี่ยงภัยในสามจังหวัดชายแดนใต้มาเกือบ 40 ปี โดยมี พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงห์แก้ว ที่ปรึกษา สบ.10 ที่คลุกคลี่งานสนามภาคใต้เป็นหัวเรือใหญ่ในการวิ่งเต้นช่วยเหลือขอร้องต่อ ผู้หลักผู้ใหญ่ในรัฐบาลและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แต่ออกที่ออกมาคือ พ.ต.อ.สมเพียร อยู่ที่เดิมคือเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา ต่อไป
สำหรับตำแหน่ง ผกก.กันตัง จ.ตรังที่ พ.ต.อ.สมเพียร ระบุขอย้ายมารับราชการในห้วงสุดท้ายของชีวิต เป็นตำแหน่งที่ว่างลงเมื่อวันที่ 30 ต.ค.52 เนื่องจาก พ.ต.อ.เติม อินทะสะระ ผกก.กันตัง ได้เกษียณอายุราชการไป ซึ่งในบัญชีรายชื่อเดิม พ.ต.อ.สมเพียร ได้รับการวางตัวให้ดำรงตำแหน่งนี้ แต่เนื่องจาก พื้นที่ของ อ.กันตังเป็นพื้นที่ทำเลทองของนักวิ่งเต้นเนื่องจากเป็นเมืองค้าขาย และเป็นท่าเรือสำคัญของจังหวัด นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 จึงส่งนายตำรวจคนสนิทมาลงในตำแหน่งนี้แทน และได้โยก พ.ต.อ.สมเพียร ไปเป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน ซึ่งในตำแหน่งนี้ก็เป็นตำแหน่งที่ว่าง เพราะ พ.ต.อ.นุกูล ไกรทอง ผกก.สภ.เมืองตรัง คนสนิทของ นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น รอง ผบก.จว.ตรัง ไปก่อนล่วงหน้าแล้ว ซึ่งเป็นการเลื่อนนอกวาระแต่งตั้ง แต่ยังคงรักษาราชการแทนในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง อยู่
เรื่องเหมือนว่าจะจบ พ.ต.อ.สมเพียร คงได้เป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง ในวันที่ 16 ก.พ.ที่ผ่าน แต่ยังไม่จบ เมื่อนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ต้องการย้าย ผกก.สภ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ออกจากพื้นที่เนื่องจากไม่ใช่คนของตนเอง และรับตัวผู้กำกับการคนหนึ่งใน จ.นราธิวาส มาเป็นแทน โดยเดิมทีจะส่งผู้กำกับการคนนี้ออกไปแทน พ.ต.อ.สมเพียร ในตำแหน่ง ผกก.สภ.บันนังสตา แต่ผู้กำกับการคนนี้ได้วิ่งเต้นนักการเมืองใหญ่ใน จ.สงขลา และใน จ.ตรัง ขออยู่ในสังกัดตำรวจภูธรภาค 9 ไม่อยากไปอยู่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ทนแรงเสียดทานจากการเมืองไม่ไหวจึงย้ายผู้กำกับการคนนี้มาลงในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน พ.ต.อ.สมเพียร นายตำรวจบ้านนอกที่ไม่มีเส้น เป็นเหตุให้ พ.ต.อ.สมเพียร ต้องกลับไปเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา เพื่อรอเวลาที่จะถูกโจรใต้วางระเบิดและยิงซ้ำจนเสียชีวิตในวันที่ 12 มี.ค.ที่ผ่านมา
ขอสดุดี .......แด่ผู้กล้า
เส้นทาง "พ.ต.อ.สมเพียร" 40 ปีรับใช้ชาติ
ที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ วันที่ 13 มีนาคม เรื่องการแต่งตั้งโยกย้ายข้อราชการตำรวจ ระดับ รองบังคับการ จนถึงสารวัตร ประจำปี พ.ศ. 2552 ในสมัยที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และมี พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ จเรตำรวจแห่งชาติเป็น รรท.ผบ.ตร.ได้สิ้นสุดลงวันที่31 ม.ค.53 และให้คำสั่งมีผลวันที่ 16 ก.พ.53 ซึ่งถือว่าเป็นการแต่งตั้งวาระประจำปีที่ล่าช้า และประสบปัญหาเรื่องการวิ่งเต้นซื้อขายตำแหน่งอย่างมากมายเป็นประวัติการณ์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยหนึ่งในผู้ร้องเรียนก็คือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา จ.ยะลา ที่แต่เดิมได้รับการวางตัวให้มาพักผ่อนก่อนเกษียณอายุราชการในปี 2554 เพื่อเป็นการตอบแทนคุณงามความดีที่ได้ทำไว้ตั้งแต่รับราชการในพื้นที่เสี่ยงภัยในสามจังหวัดชายแดนใต้มาเกือบ 40 ปี โดยมี พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงห์แก้ว ที่ปรึกษา สบ.10 ที่คลุกคลี่งานสนามภาคใต้เป็นหัวเรือใหญ่ในการวิ่งเต้นช่วยเหลือขอร้องต่อ ผู้หลักผู้ใหญ่ในรัฐบาลและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แต่ออกที่ออกมาคือ พ.ต.อ.สมเพียร อยู่ที่เดิมคือเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา ต่อไป
สำหรับตำแหน่ง ผกก.กันตัง จ.ตรังที่ พ.ต.อ.สมเพียร ระบุขอย้ายมารับราชการในห้วงสุดท้ายของชีวิต เป็นตำแหน่งที่ว่างลงเมื่อวันที่ 30 ต.ค.52 เนื่องจาก พ.ต.อ.เติม อินทะสะระ ผกก.กันตัง ได้เกษียณอายุราชการไป ซึ่งในบัญชีรายชื่อเดิม พ.ต.อ.สมเพียร ได้รับการวางตัวให้ดำรงตำแหน่งนี้ แต่เนื่องจาก พื้นที่ของ อ.กันตังเป็นพื้นที่ทำเลทองของนักวิ่งเต้นเนื่องจากเป็นเมืองค้าขาย และเป็นท่าเรือสำคัญของจังหวัด นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 จึงส่งนายตำรวจคนสนิทมาลงในตำแหน่งนี้แทน และได้โยก พ.ต.อ.สมเพียร ไปเป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน ซึ่งในตำแหน่งนี้ก็เป็นตำแหน่งที่ว่าง เพราะ พ.ต.อ.นุกูล ไกรทอง ผกก.สภ.เมืองตรัง คนสนิทของ นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น รอง ผบก.จว.ตรัง ไปก่อนล่วงหน้าแล้ว ซึ่งเป็นการเลื่อนนอกวาระแต่งตั้ง แต่ยังคงรักษาราชการแทนในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง อยู่
เรื่องเหมือนว่าจะจบ พ.ต.อ.สมเพียร คงได้เป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง ในวันที่ 16 ก.พ.ที่ผ่าน แต่ยังไม่จบ เมื่อนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ต้องการย้าย ผกก.สภ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ออกจากพื้นที่เนื่องจากไม่ใช่คนของตนเอง และรับตัวผู้กำกับการคนหนึ่งใน จ.นราธิวาส มาเป็นแทน โดยเดิมทีจะส่งผู้กำกับการคนนี้ออกไปแทน พ.ต.อ.สมเพียร ในตำแหน่ง ผกก.สภ.บันนังสตา แต่ผู้กำกับการคนนี้ได้วิ่งเต้นนักการเมืองใหญ่ใน จ.สงขลา และใน จ.ตรัง ขออยู่ในสังกัดตำรวจภูธรภาค 9 ไม่อยากไปอยู่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ทนแรงเสียดทานจากการเมืองไม่ไหวจึงย้ายผู้กำกับการคนนี้มาลงในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน พ.ต.อ.สมเพียร นายตำรวจบ้านนอกที่ไม่มีเส้น เป็นเหตุให้ พ.ต.อ.สมเพียร ต้องกลับไปเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา เพื่อรอเวลาที่จะถูกโจรใต้วางระเบิดและยิงซ้ำจนเสียชีวิตในวันที่ 12 มี.ค.ที่ผ่านมา
เส้นทาง "พ.ต.อ.สมเพียร" 40 ปีรับใช้ชาติ
ที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ วันที่ 13 มีนาคม เรื่องการแต่งตั้งโยกย้ายข้อราชการตำรวจ ระดับ รองบังคับการ จนถึงสารวัตร ประจำปี พ.ศ. 2552 ในสมัยที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และมี พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ จเรตำรวจแห่งชาติเป็น รรท.ผบ.ตร.ได้สิ้นสุดลงวันที่31 ม.ค.53 และให้คำสั่งมีผลวันที่ 16 ก.พ.53 ซึ่งถือว่าเป็นการแต่งตั้งวาระประจำปีที่ล่าช้า และประสบปัญหาเรื่องการวิ่งเต้นซื้อขายตำแหน่งอย่างมากมายเป็นประวัติการณ์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยหนึ่งในผู้ร้องเรียนก็คือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา จ.ยะลา ที่แต่เดิมได้รับการวางตัวให้มาพักผ่อนก่อนเกษียณอายุราชการในปี 2554 เพื่อเป็นการตอบแทนคุณงามความดีที่ได้ทำไว้ตั้งแต่รับราชการในพื้นที่เสี่ยงภัยในสามจังหวัดชายแดนใต้มาเกือบ 40 ปี โดยมี พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงห์แก้ว ที่ปรึกษา สบ.10 ที่คลุกคลี่งานสนามภาคใต้เป็นหัวเรือใหญ่ในการวิ่งเต้นช่วยเหลือขอร้องต่อ ผู้หลักผู้ใหญ่ในรัฐบาลและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แต่ออกที่ออกมาคือ พ.ต.อ.สมเพียร อยู่ที่เดิมคือเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา ต่อไป
สำหรับตำแหน่ง ผกก.กันตัง จ.ตรังที่ พ.ต.อ.สมเพียร ระบุขอย้ายมารับราชการในห้วงสุดท้ายของชีวิต เป็นตำแหน่งที่ว่างลงเมื่อวันที่ 30 ต.ค.52 เนื่องจาก พ.ต.อ.เติม อินทะสะระ ผกก.กันตัง ได้เกษียณอายุราชการไป ซึ่งในบัญชีรายชื่อเดิม พ.ต.อ.สมเพียร ได้รับการวางตัวให้ดำรงตำแหน่งนี้ แต่เนื่องจาก พื้นที่ของ อ.กันตังเป็นพื้นที่ทำเลทองของนักวิ่งเต้นเนื่องจากเป็นเมืองค้าขาย และเป็นท่าเรือสำคัญของจังหวัด นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 จึงส่งนายตำรวจคนสนิทมาลงในตำแหน่งนี้แทน และได้โยก พ.ต.อ.สมเพียร ไปเป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน ซึ่งในตำแหน่งนี้ก็เป็นตำแหน่งที่ว่าง เพราะ พ.ต.อ.นุกูล ไกรทอง ผกก.สภ.เมืองตรัง คนสนิทของ นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น รอง ผบก.จว.ตรัง ไปก่อนล่วงหน้าแล้ว ซึ่งเป็นการเลื่อนนอกวาระแต่งตั้ง แต่ยังคงรักษาราชการแทนในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง อยู่
เรื่องเหมือนว่าจะจบ พ.ต.อ.สมเพียร คงได้เป็น ผกก.สภ.เมืองตรัง ในวันที่ 16 ก.พ.ที่ผ่าน แต่ยังไม่จบ เมื่อนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ต้องการย้าย ผกก.สภ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ออกจากพื้นที่เนื่องจากไม่ใช่คนของตนเอง และรับตัวผู้กำกับการคนหนึ่งใน จ.นราธิวาส มาเป็นแทน โดยเดิมทีจะส่งผู้กำกับการคนนี้ออกไปแทน พ.ต.อ.สมเพียร ในตำแหน่ง ผกก.สภ.บันนังสตา แต่ผู้กำกับการคนนี้ได้วิ่งเต้นนักการเมืองใหญ่ใน จ.สงขลา และใน จ.ตรัง ขออยู่ในสังกัดตำรวจภูธรภาค 9 ไม่อยากไปอยู่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในภาค 9 ทนแรงเสียดทานจากการเมืองไม่ไหวจึงย้ายผู้กำกับการคนนี้มาลงในตำแหน่ง ผกก.สภ.เมืองตรัง แทน พ.ต.อ.สมเพียร นายตำรวจบ้านนอกที่ไม่มีเส้น เป็นเหตุให้ พ.ต.อ.สมเพียร ต้องกลับไปเป็น ผกก.สภ.บันนังสตา เพื่อรอเวลาที่จะถูกโจรใต้วางระเบิดและยิงซ้ำจนเสียชีวิตในวันที่ 12 มี.ค.ที่ผ่านมา
วันเสาร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2553
เพื่อนสนใจเวบช่วนสอนเชิญทางนี้
ผู้ลงทะเบียนขอรับโปรแกรม WAC E-learning ทางบริษัท แวค รีเสิร์ช จำกัด ได้รับข้อมูลการลงทะเบียน ดาวน์โหลดฟรีโปรแกรม WAC E-learning ท่านสามารถเข้ามาดาวน์โหลดได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้ http://www.wacinfotech.com/link_download_e_learning.html หากท่านต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อที่ บริษัท แวค รีเสิร์ช จำกัด โทร.025303809-10, 025381038, 025399352, E-mail:sales@wacinfotech.com หรือคุยกันสดๆได้ที่ MSN:wacresearch@hotmail.comwww.wacinfotech.com
ผู้ลงทะเบียนขอรับโปรแกรม WAC E-learning ทางบริษัท แวค รีเสิร์ช จำกัด ได้รับข้อมูลการลงทะเบียน ดาวน์โหลดฟรีโปรแกรม WAC E-learning ท่านสามารถเข้ามาดาวน์โหลดได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้ http://www.wacinfotech.com/link_download_e_learning.html หากท่านต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อที่ บริษัท แวค รีเสิร์ช จำกัด โทร.025303809-10, 025381038, 025399352, E-mail:sales@wacinfotech.com หรือคุยกันสดๆได้ที่ MSN:wacresearch@hotmail.comwww.wacinfotech.com
1. การจัดการความรู้
การที่เราจะได้มาซึ่งความรู้ที่ถูกต้องและแท้จริงนั้น ต้องมีกระบวนการที่สำคัญ 7 ขั้น
ดังนี้
1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge identification) เราจะต้องทราบว่าเราต้องมีความรู้
เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ซึ่งในที่นี้เราเป็นครู เราจำต้องทราบว่าตัวเรามีความรู้ในเนื้อหาสาระที่เราจะสอนแล้วหรือยัง และที่สำคัญเลยคือ เรามีความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูครบทั้ง 9 ข้อแล้วหรือยัง
2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) เป็น
การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า และกำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว ซึ่งเมื่อเราทราบแล้วว่าเรามีความรู้ด้านใดและไม่มีความรู้ในด้านใด ในด้านความรู้ที่มีอยู่แล้ว เราก็ต้องรักษาความรู้นั้นไว้และต้องแสวงหาความรู้ในด้านที่เรายังไม่รู้ โดยอาจจะหาความรู้จากการอ่านหนังสือ ถามผู้รู้ เสาะหาความรู้จากอินเตอร์เน็ต และที่สำคัญเลยคือ การเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับนักเรียนของเรา เพื่อเป็นการสร้างความใกล้ชิดและรู้เท่าทันปัจจุบันนั่นเอง
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization ) เป็นการวางโครงสร้าง
ความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต ในขั้นนี้เปรียบเสมือนการจัดเสื้อผ้าในตู้ให้สามารถ หาง่าย หายรู้ ดูงามตา ซึ่งถ้าเปรียบกับความรู้ในสาระวิชาต่าง ๆ นั้น ก็คือ การจัดกระบวนการคิดและจัดกระบวนการจดจำความรู้ในสมองของเรา โดยทุกความรู้ต้องมีความเชื่อมโยงกัน บูรณาการเข้ากันได้ในทุก ๆ สาระ
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and
Refinement) เมื่อเราได้ข้อมูลความรู้ (Data) ในด้านต่าง ๆ มา (Input) เราต้องนำความรู้ที่ได้ มากลั่นกรอง พินิจพิจารณาให้เข้าถึงความรู้นั้น ๆ แล้วประมวลให้ได้สารสนเทศในเรื่องนั้น ๆ (Information) ออกมา (Output)
5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) ในปัจจุบันความรู้มีที่มาจากหลากหลาย
แหล่ง เพราะฉะนั้นเราต้องปรับปรุงความรู้ของเราให้ทันสมัยอยู่เสมอ ซึ่งแหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึงและนำมาใช้งานได้ง่าย เช่น การฝึกอบรม หนังสือเวียน บอร์ด หรือ Web Board เป็นต้น
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing ) จะต้องมีการแลกเปลี่ยน
ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ดังนี้
· Explicit knowledge แลกเปลี่ยนด้วยวิธีการ เช่น จากเอกสารฐานความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
· Tacit knowledge แลกเปลี่ยนด้วยวิธีการ เช่น ทีมข้ามสายงาน กิจกรรม
กลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
7. การเรียนรู้ (Learning) การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันในองค์การจะทำให้
เกิดองค์ความรู้และสมาชิกในองค์การ สามารถนำความรู้จากองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์และเป็นการสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนางานตลอดจนประสบการณ์ใหม่ ๆ และนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในองค์การได้ เช่น เราสามารถเรียนรู้ความรู้ต่าง ๆ ได้จากเพื่อนครูที่อยู่ภายในโรงเรียนเดียวกันกับเราหรืออาจจะเป็นเพื่อนครูที่อยู่ต่างโรงเรียนกันก็ได้ และนอกจากเพื่อนครูด้วยกันแล้ว เราก็ยังสามารถเรียนรู้ไปด้วยกันกับนักเรียนก็ได้ โดยต้องไม่ยึดถือว่าตัวเราแน่ ตัวเรามีความรู้มากกว่านักเรียน แต่ต้องทำตัวเองว่าเราไม่รู้บ้าง เพื่อจะได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับนักเรียน ที่สำคัญยังเป็นวิธีหนึ่งที่จะทำให้นักเรียนได้ใกล้ชิดกับเรามากขึ้น ซึ่งเมื่อมีเรื่องอะไร นักเรียนก็จะกล้าที่จะบอกเราและยังเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนกล้าแสดงออกทางความคิดอีกด้วย
2. มีความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูทั้ง 9 ข้อ
หลังจากที่เราได้แสวงหาความรู้อย่างสมบูรณ์ดีแล้ว ทำให้เรามีความรู้ในมาตรฐาน
วิชาชีพครูทั้ง 9 ข้อ ดังนี้
§ ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาภาษาไทย ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ รวมทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู เพื่อให้เราสามารถใช้ทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานได้ ซึ่งในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์นั้น การที่จะทำให้นักเรียนมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งได้นั้น ต้องเริ่มจากการฟังที่ถูกต้องและชัดเจน โดยเราจะต้องพูดและเขียน (ส่งสาร) ให้นักเรียนเข้าใจตรงกันกับสิ่งที่เราอธิบาย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตลอดจนศัพท์เฉพาะทางวิทยาศาสตร์ด้วย อีกทั้งเราก็ต้องฟังและอ่าน(รับสาร) จากนักเรียนที่เขาสื่อสารมาให้เรารู้ด้วย นอกจากนั้นแล้วในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น ทำให้เราต้องเชี่ยวชาญการใช้สื่อทางคอมพิวเตอร์ด้วย แต่หากใช้ไม่ชำนาญเราควรถามและเรียนรู้จากนักเรียนก็ได้
§ การพัฒนาหลักสูตร
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษา ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎีการศึกษา ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย ทฤษฎีและการพัฒนาหลักสูตร มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์หลักสูตร ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรได้อย่างหลากหลาย ประเมินหลักสูตรได้ ทั้งก่อนและหลังการใช้หลักสูตร และสามารถจัดทำหลักสูตรได้ ในข้อนี้เราต้องนำความรู้ที่เรามีมาจัดการกับหลักสูตร โดยต้องปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัย และที่สำคัญเลยก็คือ เราต้องพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับนักเรียน โดยจะต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นหลัก
§ การจัดการเรียนรู้
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษา ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน รูปแบบการเรียนรู้และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้และบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม เทคนิคและวิทยาการจัดการเรียนรู้ การใช้และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ และการประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้เราสามารถนำประมวลรายวิชามาจัดทำแผนการเรียนรู้รายภาคและตลอดภาค สามารถออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน สามารถเลือกใช้ พัฒนาและสร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและจำแนกระดับการเรียนรู้ของผู้เรียนจากการประเมินผลได้ เช่น สอนเรื่อง พืชใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ ถ้าเราสอน 2 ห้อง โดยห้องหนึ่งเป็นห้องที่ชอบการทดลอง เราต้องจัดให้นักเรียนเรียนรู้จากการได้สังเกตใบพืชจริง ๆ โดยอาจจัดแว่นขยายให้นักเรียนได้ส่องดูกันจริง ๆ แต่สำหรับอีกห้องหนึ่งที่ชอบเล่นเกมหรือการร้องเพลง เราก็ต้องเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยต้องเปลี่ยนมาให้นักเรียนเล่นเกมแทน เช่น เกมคำศัพท์หรือคำสำคัญเกี่ยวกับใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ หรืออาจมีการร้องเพลงที่เกี่ยวกับใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและจดจำได้ดียิ่งขึ้นก็ได้
§ จิตวิทยาสำหรับครู
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาจิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย์ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาการแนะแนวและให้คำปรึกษา เพื่อให้เราสามารถเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียน ช่วยเหลือผู้เรียนให้เรียนรู้และพัฒนาได้ตามศักยภาพของตน ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสามารถส่งเสริมความถนัดและความสนใจของผู้เรียนได้ โดยการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูต้องมีจิตวิทยา เช่น ต้องมีการสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน ยกตัวอย่างเช่น จะให้นักเรียนท่องชื่อ คลาสและไฟลัมต่าง ๆ ของพืช เราต้องพูดเพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียน โดยอาจพูดทำนองว่า “มันจะทันสมัย (in Trend) มากถ้าหากนักเรียนสามารถท่องชื่อเหล่านี้ได้ เพราะถ้านักเรียนจดจำได้ นักเรียนก็จะเข้าใจวิชานี้อย่างลึกซึ้ง” และต้องมีการเสริมแรงหากนักเรียนสามารถทำในสิ่งที่เราต้องการได้ เช่น การกล่าวคำชมเชย หรือแม้แต่การให้รางวัลก็ตาม ซึ่งทั้งหมดถือได้ว่าเป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่ง
§ การวัดและประเมินผลการศึกษา
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาหลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลทางการศึกษา การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน การประเมินภาคปฏิบัติ และการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม เพื่อให้เราสามารถวัดและประเมินผลได้ตามสภาพความเป็นจริง ตลอดจนสามารถนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตรได้ โดยในข้อนี้จะเชื่อมโยงไปในข้อ 2 การพัฒนาหลักสูตรด้วย เพราะหากเรามีแนวในการวัดผลและประเมินผลที่ถูกต้องและเหมาะสมตามสภาพจริงแล้วนั้น เราย่อมที่จะสามารถเข้าใจในตัวนักเรียนคนนั้น ๆ ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งการวัดและประเมินผลในวิชาวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้มีแค่เพียงการสอบข้อเขียนเพียงอย่างเดียว แต่อาจมีการสังเกตพฤติกรรมการเรียน การจัดให้นักเรียนได้ทำการทดลองว่าเข้าใจและทดลองถูกต้องหรือไม่ ตลอดจนการประเมินตามสภาพจริงในนักเรียนแต่ละคนด้วย
§ การบริหารจัดการในห้องเรียน
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ ภาวะผู้นำทางการศึกษา การคิดอย่างเป็นระบบ การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร การติดต่อสื่อสารในองค์กร การบริหารจัดการชั้นเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา การทำงานเป็นทีม การจัดทำโครงงานทางวิชาการ การจัดโครงการฝึกอาชีพ การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน เพื่อให้เราสามารถบริหารจัดการในชั้นเรียน สามารถสื่อสารได้อย่างมีคุณภาพ สามารถในการประสานประโยชน์ และสามารถนำนวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการได้ ที่สำคัญคือต้องมีภาวะผู้นำ ซึ่งตรงนี้เราต้องร่วมมือกับเพื่อนครูซึ่งทำงานภายในสถานศึกษาเดียวกันกับเรา ไม่ว่าจะเป็นการจัดทำหลักสูตร การจัดการชั้นเรียน หรือการบริหารจัดการในห้องเรียน ที่สำคัญเลยคือเราต้องติดต่อสื่อสารกับนักเรียนของเราให้เข้าใจร่วมกันทั้งสองฝ่ายในเรื่องต่าง ๆ
§ การวิจัยทางการศึกษา
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาทฤษฎีการวิจัย รูปแบบการวิจัย การออกแบบการวิจัย กระบวนการวิจัย สถิติเพื่อการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียน การฝึกปฏิบัติการวิจัย การนำเสนอผลงานวิจัย การค้นคว้าและศึกษางานวิจัยในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา และการเสนอโครงการเพื่อทำวิจัย เพื่อให้เราสามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน สามารถทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียน สำหรับวิชาวิทยาศาสตร์นั้น เรามักจะได้ยินนักเรียนพูดว่า “ยาก” ซึ่งในข้อนี้ครูทุกคนจะต้องทำวิจัยเป็น โดยจะต้องศึกษาว่าเหตุใดนักเรียนจึงมองว่าวิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ยากหรือนักเรียนไม่เข้าใจในจุดไหนหัวข้อไหน ซึ่งปัญหาเหล่านี้อาจมาจาก การพูดหรือสื่อการสอนของครูไร้ประสิทธิภาพ นักเรียนไม่ตั้งใจเรียน หรือนักเรียนมีปัญหาด้านอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งเราในฐานะที่เป็นครู เราต้องต้องทำวิจัยเพื่อหาทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเหล่านี้ให้ได้
§ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ เทคโนโลยีและสารสนเทศ การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การออกแบบ การสร้าง การนำไปใช้ การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม เพื่อให้เราสามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้างและปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถแสวงหาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยในวิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เราสามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ซึ่งในปัจจุบันก็มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมากมาย เช่น อินเตอร์เน็ต บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เรื่อง คลื่น ซึ่งหากเราพูดให้นักเรียนฟัง นักเรียนอาจนึกไม่ถึงว่ามันเป็นอย่างไร มีลักษณะอย่างไร เราก็อาจเปิดเว็บไซด์ที่เกี่ยวกับคลื่นให้นักเรียนชมซึ่งเป็นภาพคลื่นเคลื่อนที่และเราอาจแจกบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้นักเรียนนำกลับไปศึกษาต่อเองที่บ้านด้วยก็ได้
§ ความเป็นครู
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาความสำคัญของวิชาชีพครู บทบาท หน้าที่ ภาระงานของครู พัฒนาการของวิชาชีพครู คุณลักษณะของครูที่ดี การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็นครู การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และการเป็นผู้นำทางวิชาการ เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู จรรยาบรรณของวิชาชีพครูและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เพื่อให้เรารัก เมตตา และปรารถนาดีต่อผู้เรียน อดทนและรับผิดชอบ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นผู้นำทางวิชาการ มีวิสัยทัศน์ ศรัทธาในวิชาชีพครูและปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ข้อนี้จัดได้ว่าเป็นข้อที่สำคัญที่สุดสำหรับครูทุกคน เพราะหากขาดข้อนี้ไป ทั้ง 8 ข้อที่พูดมาข้างต้นคงไม่เกิดขึ้น เพราะ “ความเป็นครู” คือหัวใจที่สำคัญที่สุดและเป็นจุดเริ่มต้นที่จะทำให้ครูมีครบทั้ง 9 ข้อมาตรฐานวิชาชีพครูนั่นเอง โดยความเป็นครูที่สำคัญที่สุด คือ การเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่นักเรียน ให้ความสำคัญแก่นักเรียนเป็นลำดับแรก เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนต้องเป็นบุคคลที่มี”คุณธรรม”นำจิตใจด้วย
ความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูจะสมบูรณ์แบบไม่ได้หากขาดการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษาจริงๆ ซึ่งตามหลักสูตรผลิตครูพันธุ์ใหม่นั้น ได้จัดให้เป็นหลักสูตร 5 ปี โดยในปีสุดท้ายเป็นปีที่ต้องออกไปฝึกปฏิบัติการสอนในโรงเรียนจริง ๆ ตลอดระยะเวลา 1 ปีเต็ม ซึ่งเป็นการนำทฤษฎีที่ได้เรียนรู้มาตลอด 4 ปีไปปฏิบัติจริง หรือจะเรียกได้ว่าเป็นการชิมลางก่อนจบไปประกอบอาชีพครูจริง ๆ ก็ได้ ซึ่งตรงนี้ถือได้ว่าเป็นการเตรียมความพร้อมและตรวจสอบความรู้ในสาระวิชาวิทยาศาสตร์ และทดสอบความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูไปในตัวอีกด้วย
3. นำความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูทั้ง 9 ข้อไปใช้
เมื่อเรามีความรู้แล้ว มันจะไม่เกิดประโยชน์อะไรเลยถ้าหากว่าเราไม่นำความรู้ที่เรามีไป
ใช้ ซึ่งนอกจากเราจะต้องนำความรู้ทางวิชาการไปใช้แล้ว เรายังต้องนำความรู้ในมาตรฐาน
วิชาชีพครูไปใช้ด้วย ซึ่งนอกจากจะได้นำไปใช้กับนักเรียนแล้ว เรายังต้องนำไปใช้กับฝ่ายต่างๆ ในสถานศึกษาด้วย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วสถานศึกษาก็จะแบ่งกันออกเป็น 4 ฝ่ายด้วยกัน คือ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายวิชาการ และฝ่ายงบประมาณ โดยในแต่ละฝ่ายนั้นก็จะมีการนำความรู้ไปใช้ที่อาจต่างหรือเหมือนกันก็ได้ เช่น
Ø ฝ่ายบุคลากร เราอาจนำจิตวิทยา (ข้อที่ 4) มาใช้ในการติดต่อสื่อสาร
Ø ฝ่ายบริหารทั่วไป เราอาจนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (ข้อที่
8) มาใช้ในด้านการบริหาร ตลอดจนการวิจัย การวัดและประเมินผลด้วย (ข้อ 5 และข้อ 7) เพื่อเป็นการตรวจสอบและติดตามผลว่าการบริหารได้ผลเป็นเช่นใด เหมาะสมกับนักเรียนหรือไม่
Ø ฝ่ายวิชาการ เราอาจนำการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการใน
ห้องเรียน (ข้อ 2 ข้อ 3 และข้อ 6) มาใช้ในฝ่ายนี้ เพื่อพัฒนาหลักสูตรและจัดการการเรียนรู้ในชั้นเรียนให้นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ตรงตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์
Ø ฝ่ายงบประมาณ เราอาจนำเทคโนโลยีการจัดการมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
หลักฐานด้านงบประมาณ ตลอดจนการบริหารจัดการมาใช้บริหารและจัดสรรปันส่วนงบประมาณที่มีให้เกิดผลต่อนักเรียนมากที่สุด (ข้อ 1 และข้อ 6) เพื่อให้สถานศึกษามีความสมดุลระหว่างรายรับกับรายจ่าย อีกทั้งยังต้องใช้ “ความเป็นครู” (ข้อ 9) หรืออาจเรียกว่า “จิตวิญาณในความเป็นครู” ก็ได้มาใช้ในด้านคุณธรรมและจริยธรรม โดยต้องไม่โกงกินเงินงบประมาณ ต้องไม่รับสินบนใด ๆ เป็นต้น
นอกจาก 4 ฝ่ายข้างต้นแล้ว เราต้องนำความรู้ในมาตรฐานทั้ง 9 ข้อไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนด้วย เพราะเป็นงานหลักของครู ซึ่งทั้ง 9 ข้อนั้นมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก เช่น ในการสอนวิทยาศาสตร์ เราต้อง...
v พูดจา อ่านออกเสียง อธิบายให้นักเรียนเข้าใจด้วยภาษาที่ฟังง่ายและถูกต้องตรงตาม
อักขระวิธีทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย ตลอดจนใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานได้
v พัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยและเหมาะสมกับนักเรียนโดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ
v จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน สามารถเลือกใช้และสร้างสื่ออุปกรณ์
ที่ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และสามารถจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนได้
v ใช้จิตวิทยาให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละคน เช่น นักเรียนคนนี้ให้แรงจูงใจเพียงอย่าง
เดียวก็สามารถตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ได้ แต่อีกคนเราต้องใช้ทั้งแรงจูงใจและการเสริมแรง
v มีการวัดผลและประเมินผลในหลาย ๆ ด้าน ไม่ใช้ข้อสอบเพียงอย่างเดียว แต่ต้องใช้การ
ทดลองในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งการประเมินผลตามสภาพจริงด้วย
v บริหารจัดการในห้องเรียน โดยการนำเอานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการ
เรียนการสอนวิทยาศาสตร์ได้
v ทำการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น นักเรียนไม่
เข้าใจการบรรยายของเรา เราก็อาจต้องให้นักเรียนสังเกตและทดลองด้วยตนเอง
v ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาให้เหมาะสมและมีความทันสมัยตามทันโลก
แห่งการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้
v มีความเป็นครู มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เมตตากรุณา เป็นแบบอย่างที่ดีงาม และมี
คุณธรรมจริยธรรม
4. นักเรียนเก่ง ดี และมีความสุข
เมื่อเราได้นำความรู้ที่เรามีไปใช้อย่างสมบูรณ์แล้ว ย่อมส่งผลดีแก่นักเรียนให้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่เราต้องการ ซึ่งคุณลักษณะที่พึงประสงค์นี้ ได้แก่
ü เก่ง = คำว่า “เก่ง” ในที่นี้หมายถึง มีความรู้ความสามารถในด้านวิชาการ เชี่ยวชาญทั้ง
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริง มีความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์ เก่งในด้านดนตรีและกีฬาด้วย หรืออาจเรียกอย่างง่ายว่า “เก่งทั้งเรียนและเล่น”
ü ดี = คำว่า “ดี” ในที่นี้หมายถึง มีคุณธรรมและจริยธรรมนำจิตใจ รู้หน้าที่ ประหยัด
อดทน ขยันและมีวินัย เสียสละ มีเหตุผล มีค่านิยมประชาธิปไตย มีเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เห็นอกเห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน นอกจากนั้นแล้วยังเป็นนักกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอุทิศตนเพื่อพัฒนาสังคม พัฒนาเพื่อนมนุษย์ ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้พบเห็น อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ
ü มีความสุข = คำว่า “มีความสุข” ในที่นี้หมายถึง มีความสุขทางกาย ซึ่งก็คือ มีสุขภาพ
ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และต้องมีความสุขทางใจด้วย ซึ่งก็คือ ไม่มีความคิดอิจฉาริษยา ไม่โกรธ ไม่ลุ่มหลงในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่มีความโลภที่จะได้ของของผู้อื่นมาเป็นของตน ไม่มีความวิตกและกังวล สงบเสงี่ยม มีจิตใจที่บริสุทธิ์ คิดดีทำดี ร่าเริงแจ่มใส มีความรักความอบอุ่น ไม่เบียดเบียนผู้อื่น สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
ทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นจะจบลงที่นักเรียน เก่ง ดี และมีความสุขไม่ได้ หากตัวเราซึ่ง
เป็นครูขาดตกบกพร่องในเรื่องใดเรื่องหนึ่งใน 9 มาตรฐานวิชาชีพครู หรือไม่นำความรู้ที่มีไปใช้ไปปฏิบัติ อีกทั้งยังขาดการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นเราผู้ซึ่งจะออกไปประกอบวิชาชีพครูในอนาคต ควรเร่งหาความรู้และนำความรู้มาจัดการให้มีประสิทธิภาพตั้งแต่วันนี้ ก่อนที่เราจะนำความรู้ไปจัดการความรู้จริงให้แก่นักเรียนในอนาคต และที่สำคัญเลยเราต้องประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นคนที่มีคุณธรรมจริยธรรม เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้พบเห็นรวมทั้งนักเรียนของเราในอนาคตด้วย
Credit:
1. หนังสือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา (http://www.ksp.or.th/upload/278/files/434-2333.pdf)
3. http://registrar.nsru.ac.th/graduate/thesis_article/filelist_download1.asp?ArticleID=15&action=add
4. http://www.learners.in.th
การที่เราจะได้มาซึ่งความรู้ที่ถูกต้องและแท้จริงนั้น ต้องมีกระบวนการที่สำคัญ 7 ขั้น
ดังนี้
1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge identification) เราจะต้องทราบว่าเราต้องมีความรู้
เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ซึ่งในที่นี้เราเป็นครู เราจำต้องทราบว่าตัวเรามีความรู้ในเนื้อหาสาระที่เราจะสอนแล้วหรือยัง และที่สำคัญเลยคือ เรามีความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูครบทั้ง 9 ข้อแล้วหรือยัง
2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) เป็น
การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า และกำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว ซึ่งเมื่อเราทราบแล้วว่าเรามีความรู้ด้านใดและไม่มีความรู้ในด้านใด ในด้านความรู้ที่มีอยู่แล้ว เราก็ต้องรักษาความรู้นั้นไว้และต้องแสวงหาความรู้ในด้านที่เรายังไม่รู้ โดยอาจจะหาความรู้จากการอ่านหนังสือ ถามผู้รู้ เสาะหาความรู้จากอินเตอร์เน็ต และที่สำคัญเลยคือ การเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับนักเรียนของเรา เพื่อเป็นการสร้างความใกล้ชิดและรู้เท่าทันปัจจุบันนั่นเอง
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization ) เป็นการวางโครงสร้าง
ความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต ในขั้นนี้เปรียบเสมือนการจัดเสื้อผ้าในตู้ให้สามารถ หาง่าย หายรู้ ดูงามตา ซึ่งถ้าเปรียบกับความรู้ในสาระวิชาต่าง ๆ นั้น ก็คือ การจัดกระบวนการคิดและจัดกระบวนการจดจำความรู้ในสมองของเรา โดยทุกความรู้ต้องมีความเชื่อมโยงกัน บูรณาการเข้ากันได้ในทุก ๆ สาระ
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and
Refinement) เมื่อเราได้ข้อมูลความรู้ (Data) ในด้านต่าง ๆ มา (Input) เราต้องนำความรู้ที่ได้ มากลั่นกรอง พินิจพิจารณาให้เข้าถึงความรู้นั้น ๆ แล้วประมวลให้ได้สารสนเทศในเรื่องนั้น ๆ (Information) ออกมา (Output)
5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) ในปัจจุบันความรู้มีที่มาจากหลากหลาย
แหล่ง เพราะฉะนั้นเราต้องปรับปรุงความรู้ของเราให้ทันสมัยอยู่เสมอ ซึ่งแหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึงและนำมาใช้งานได้ง่าย เช่น การฝึกอบรม หนังสือเวียน บอร์ด หรือ Web Board เป็นต้น
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing ) จะต้องมีการแลกเปลี่ยน
ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ดังนี้
· Explicit knowledge แลกเปลี่ยนด้วยวิธีการ เช่น จากเอกสารฐานความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
· Tacit knowledge แลกเปลี่ยนด้วยวิธีการ เช่น ทีมข้ามสายงาน กิจกรรม
กลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
7. การเรียนรู้ (Learning) การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันในองค์การจะทำให้
เกิดองค์ความรู้และสมาชิกในองค์การ สามารถนำความรู้จากองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์และเป็นการสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนางานตลอดจนประสบการณ์ใหม่ ๆ และนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในองค์การได้ เช่น เราสามารถเรียนรู้ความรู้ต่าง ๆ ได้จากเพื่อนครูที่อยู่ภายในโรงเรียนเดียวกันกับเราหรืออาจจะเป็นเพื่อนครูที่อยู่ต่างโรงเรียนกันก็ได้ และนอกจากเพื่อนครูด้วยกันแล้ว เราก็ยังสามารถเรียนรู้ไปด้วยกันกับนักเรียนก็ได้ โดยต้องไม่ยึดถือว่าตัวเราแน่ ตัวเรามีความรู้มากกว่านักเรียน แต่ต้องทำตัวเองว่าเราไม่รู้บ้าง เพื่อจะได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับนักเรียน ที่สำคัญยังเป็นวิธีหนึ่งที่จะทำให้นักเรียนได้ใกล้ชิดกับเรามากขึ้น ซึ่งเมื่อมีเรื่องอะไร นักเรียนก็จะกล้าที่จะบอกเราและยังเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนกล้าแสดงออกทางความคิดอีกด้วย
2. มีความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูทั้ง 9 ข้อ
หลังจากที่เราได้แสวงหาความรู้อย่างสมบูรณ์ดีแล้ว ทำให้เรามีความรู้ในมาตรฐาน
วิชาชีพครูทั้ง 9 ข้อ ดังนี้
§ ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาภาษาไทย ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ รวมทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู เพื่อให้เราสามารถใช้ทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานได้ ซึ่งในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์นั้น การที่จะทำให้นักเรียนมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งได้นั้น ต้องเริ่มจากการฟังที่ถูกต้องและชัดเจน โดยเราจะต้องพูดและเขียน (ส่งสาร) ให้นักเรียนเข้าใจตรงกันกับสิ่งที่เราอธิบาย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตลอดจนศัพท์เฉพาะทางวิทยาศาสตร์ด้วย อีกทั้งเราก็ต้องฟังและอ่าน(รับสาร) จากนักเรียนที่เขาสื่อสารมาให้เรารู้ด้วย นอกจากนั้นแล้วในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น ทำให้เราต้องเชี่ยวชาญการใช้สื่อทางคอมพิวเตอร์ด้วย แต่หากใช้ไม่ชำนาญเราควรถามและเรียนรู้จากนักเรียนก็ได้
§ การพัฒนาหลักสูตร
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษา ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎีการศึกษา ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย ทฤษฎีและการพัฒนาหลักสูตร มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์หลักสูตร ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรได้อย่างหลากหลาย ประเมินหลักสูตรได้ ทั้งก่อนและหลังการใช้หลักสูตร และสามารถจัดทำหลักสูตรได้ ในข้อนี้เราต้องนำความรู้ที่เรามีมาจัดการกับหลักสูตร โดยต้องปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัย และที่สำคัญเลยก็คือ เราต้องพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับนักเรียน โดยจะต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นหลัก
§ การจัดการเรียนรู้
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษา ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน รูปแบบการเรียนรู้และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้และบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม เทคนิคและวิทยาการจัดการเรียนรู้ การใช้และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ และการประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้เราสามารถนำประมวลรายวิชามาจัดทำแผนการเรียนรู้รายภาคและตลอดภาค สามารถออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน สามารถเลือกใช้ พัฒนาและสร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและจำแนกระดับการเรียนรู้ของผู้เรียนจากการประเมินผลได้ เช่น สอนเรื่อง พืชใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ ถ้าเราสอน 2 ห้อง โดยห้องหนึ่งเป็นห้องที่ชอบการทดลอง เราต้องจัดให้นักเรียนเรียนรู้จากการได้สังเกตใบพืชจริง ๆ โดยอาจจัดแว่นขยายให้นักเรียนได้ส่องดูกันจริง ๆ แต่สำหรับอีกห้องหนึ่งที่ชอบเล่นเกมหรือการร้องเพลง เราก็ต้องเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยต้องเปลี่ยนมาให้นักเรียนเล่นเกมแทน เช่น เกมคำศัพท์หรือคำสำคัญเกี่ยวกับใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ หรืออาจมีการร้องเพลงที่เกี่ยวกับใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและจดจำได้ดียิ่งขึ้นก็ได้
§ จิตวิทยาสำหรับครู
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาจิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย์ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาการแนะแนวและให้คำปรึกษา เพื่อให้เราสามารถเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียน ช่วยเหลือผู้เรียนให้เรียนรู้และพัฒนาได้ตามศักยภาพของตน ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสามารถส่งเสริมความถนัดและความสนใจของผู้เรียนได้ โดยการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูต้องมีจิตวิทยา เช่น ต้องมีการสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน ยกตัวอย่างเช่น จะให้นักเรียนท่องชื่อ คลาสและไฟลัมต่าง ๆ ของพืช เราต้องพูดเพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียน โดยอาจพูดทำนองว่า “มันจะทันสมัย (in Trend) มากถ้าหากนักเรียนสามารถท่องชื่อเหล่านี้ได้ เพราะถ้านักเรียนจดจำได้ นักเรียนก็จะเข้าใจวิชานี้อย่างลึกซึ้ง” และต้องมีการเสริมแรงหากนักเรียนสามารถทำในสิ่งที่เราต้องการได้ เช่น การกล่าวคำชมเชย หรือแม้แต่การให้รางวัลก็ตาม ซึ่งทั้งหมดถือได้ว่าเป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่ง
§ การวัดและประเมินผลการศึกษา
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาหลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลทางการศึกษา การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน การประเมินภาคปฏิบัติ และการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม เพื่อให้เราสามารถวัดและประเมินผลได้ตามสภาพความเป็นจริง ตลอดจนสามารถนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตรได้ โดยในข้อนี้จะเชื่อมโยงไปในข้อ 2 การพัฒนาหลักสูตรด้วย เพราะหากเรามีแนวในการวัดผลและประเมินผลที่ถูกต้องและเหมาะสมตามสภาพจริงแล้วนั้น เราย่อมที่จะสามารถเข้าใจในตัวนักเรียนคนนั้น ๆ ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งการวัดและประเมินผลในวิชาวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้มีแค่เพียงการสอบข้อเขียนเพียงอย่างเดียว แต่อาจมีการสังเกตพฤติกรรมการเรียน การจัดให้นักเรียนได้ทำการทดลองว่าเข้าใจและทดลองถูกต้องหรือไม่ ตลอดจนการประเมินตามสภาพจริงในนักเรียนแต่ละคนด้วย
§ การบริหารจัดการในห้องเรียน
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ ภาวะผู้นำทางการศึกษา การคิดอย่างเป็นระบบ การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร การติดต่อสื่อสารในองค์กร การบริหารจัดการชั้นเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา การทำงานเป็นทีม การจัดทำโครงงานทางวิชาการ การจัดโครงการฝึกอาชีพ การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน เพื่อให้เราสามารถบริหารจัดการในชั้นเรียน สามารถสื่อสารได้อย่างมีคุณภาพ สามารถในการประสานประโยชน์ และสามารถนำนวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการได้ ที่สำคัญคือต้องมีภาวะผู้นำ ซึ่งตรงนี้เราต้องร่วมมือกับเพื่อนครูซึ่งทำงานภายในสถานศึกษาเดียวกันกับเรา ไม่ว่าจะเป็นการจัดทำหลักสูตร การจัดการชั้นเรียน หรือการบริหารจัดการในห้องเรียน ที่สำคัญเลยคือเราต้องติดต่อสื่อสารกับนักเรียนของเราให้เข้าใจร่วมกันทั้งสองฝ่ายในเรื่องต่าง ๆ
§ การวิจัยทางการศึกษา
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาทฤษฎีการวิจัย รูปแบบการวิจัย การออกแบบการวิจัย กระบวนการวิจัย สถิติเพื่อการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียน การฝึกปฏิบัติการวิจัย การนำเสนอผลงานวิจัย การค้นคว้าและศึกษางานวิจัยในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา และการเสนอโครงการเพื่อทำวิจัย เพื่อให้เราสามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน สามารถทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียน สำหรับวิชาวิทยาศาสตร์นั้น เรามักจะได้ยินนักเรียนพูดว่า “ยาก” ซึ่งในข้อนี้ครูทุกคนจะต้องทำวิจัยเป็น โดยจะต้องศึกษาว่าเหตุใดนักเรียนจึงมองว่าวิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ยากหรือนักเรียนไม่เข้าใจในจุดไหนหัวข้อไหน ซึ่งปัญหาเหล่านี้อาจมาจาก การพูดหรือสื่อการสอนของครูไร้ประสิทธิภาพ นักเรียนไม่ตั้งใจเรียน หรือนักเรียนมีปัญหาด้านอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งเราในฐานะที่เป็นครู เราต้องต้องทำวิจัยเพื่อหาทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเหล่านี้ให้ได้
§ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ เทคโนโลยีและสารสนเทศ การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การออกแบบ การสร้าง การนำไปใช้ การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม เพื่อให้เราสามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้างและปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถแสวงหาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยในวิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เราสามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ซึ่งในปัจจุบันก็มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมากมาย เช่น อินเตอร์เน็ต บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เรื่อง คลื่น ซึ่งหากเราพูดให้นักเรียนฟัง นักเรียนอาจนึกไม่ถึงว่ามันเป็นอย่างไร มีลักษณะอย่างไร เราก็อาจเปิดเว็บไซด์ที่เกี่ยวกับคลื่นให้นักเรียนชมซึ่งเป็นภาพคลื่นเคลื่อนที่และเราอาจแจกบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้นักเรียนนำกลับไปศึกษาต่อเองที่บ้านด้วยก็ได้
§ ความเป็นครู
สำหรับในข้อนี้ เราต้องศึกษาความสำคัญของวิชาชีพครู บทบาท หน้าที่ ภาระงานของครู พัฒนาการของวิชาชีพครู คุณลักษณะของครูที่ดี การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็นครู การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และการเป็นผู้นำทางวิชาการ เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู จรรยาบรรณของวิชาชีพครูและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เพื่อให้เรารัก เมตตา และปรารถนาดีต่อผู้เรียน อดทนและรับผิดชอบ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นผู้นำทางวิชาการ มีวิสัยทัศน์ ศรัทธาในวิชาชีพครูและปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ข้อนี้จัดได้ว่าเป็นข้อที่สำคัญที่สุดสำหรับครูทุกคน เพราะหากขาดข้อนี้ไป ทั้ง 8 ข้อที่พูดมาข้างต้นคงไม่เกิดขึ้น เพราะ “ความเป็นครู” คือหัวใจที่สำคัญที่สุดและเป็นจุดเริ่มต้นที่จะทำให้ครูมีครบทั้ง 9 ข้อมาตรฐานวิชาชีพครูนั่นเอง โดยความเป็นครูที่สำคัญที่สุด คือ การเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่นักเรียน ให้ความสำคัญแก่นักเรียนเป็นลำดับแรก เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนต้องเป็นบุคคลที่มี”คุณธรรม”นำจิตใจด้วย
ความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครูจะสมบูรณ์แบบไม่ได้หากขาดการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษาจริงๆ ซึ่งตามหลักสูตรผลิตครูพันธุ์ใหม่นั้น ได้จัดให้เป็นหลักสูตร 5 ปี โดยในปีสุดท้ายเป็นปีที่ต้องออกไปฝึกปฏิบัติการสอนในโรงเรียนจริง ๆ ตลอดระยะเวลา 1 ปีเต็ม ซึ่งเป็นการนำทฤษฎีที่ได้เรียนรู้มาตลอด 4 ปีไปปฏิบัติจริง หรือจะเรียกได้ว่าเป็นการชิมลางก่อนจบไปประกอบอาชีพครูจริง ๆ ก็ได้ ซึ่งตรงนี้ถือได้ว่าเป็นการเตรียมความพร้อมและตรวจสอบความรู้ในสาระวิชาวิทยาศาสตร์ และทดสอบความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูไปในตัวอีกด้วย
3. นำความรู้ในมาตรฐานวิชาชีพครูทั้ง 9 ข้อไปใช้
เมื่อเรามีความรู้แล้ว มันจะไม่เกิดประโยชน์อะไรเลยถ้าหากว่าเราไม่นำความรู้ที่เรามีไป
ใช้ ซึ่งนอกจากเราจะต้องนำความรู้ทางวิชาการไปใช้แล้ว เรายังต้องนำความรู้ในมาตรฐาน
วิชาชีพครูไปใช้ด้วย ซึ่งนอกจากจะได้นำไปใช้กับนักเรียนแล้ว เรายังต้องนำไปใช้กับฝ่ายต่างๆ ในสถานศึกษาด้วย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วสถานศึกษาก็จะแบ่งกันออกเป็น 4 ฝ่ายด้วยกัน คือ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายวิชาการ และฝ่ายงบประมาณ โดยในแต่ละฝ่ายนั้นก็จะมีการนำความรู้ไปใช้ที่อาจต่างหรือเหมือนกันก็ได้ เช่น
Ø ฝ่ายบุคลากร เราอาจนำจิตวิทยา (ข้อที่ 4) มาใช้ในการติดต่อสื่อสาร
Ø ฝ่ายบริหารทั่วไป เราอาจนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (ข้อที่
8) มาใช้ในด้านการบริหาร ตลอดจนการวิจัย การวัดและประเมินผลด้วย (ข้อ 5 และข้อ 7) เพื่อเป็นการตรวจสอบและติดตามผลว่าการบริหารได้ผลเป็นเช่นใด เหมาะสมกับนักเรียนหรือไม่
Ø ฝ่ายวิชาการ เราอาจนำการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการใน
ห้องเรียน (ข้อ 2 ข้อ 3 และข้อ 6) มาใช้ในฝ่ายนี้ เพื่อพัฒนาหลักสูตรและจัดการการเรียนรู้ในชั้นเรียนให้นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ตรงตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์
Ø ฝ่ายงบประมาณ เราอาจนำเทคโนโลยีการจัดการมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
หลักฐานด้านงบประมาณ ตลอดจนการบริหารจัดการมาใช้บริหารและจัดสรรปันส่วนงบประมาณที่มีให้เกิดผลต่อนักเรียนมากที่สุด (ข้อ 1 และข้อ 6) เพื่อให้สถานศึกษามีความสมดุลระหว่างรายรับกับรายจ่าย อีกทั้งยังต้องใช้ “ความเป็นครู” (ข้อ 9) หรืออาจเรียกว่า “จิตวิญาณในความเป็นครู” ก็ได้มาใช้ในด้านคุณธรรมและจริยธรรม โดยต้องไม่โกงกินเงินงบประมาณ ต้องไม่รับสินบนใด ๆ เป็นต้น
นอกจาก 4 ฝ่ายข้างต้นแล้ว เราต้องนำความรู้ในมาตรฐานทั้ง 9 ข้อไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนด้วย เพราะเป็นงานหลักของครู ซึ่งทั้ง 9 ข้อนั้นมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก เช่น ในการสอนวิทยาศาสตร์ เราต้อง...
v พูดจา อ่านออกเสียง อธิบายให้นักเรียนเข้าใจด้วยภาษาที่ฟังง่ายและถูกต้องตรงตาม
อักขระวิธีทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย ตลอดจนใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานได้
v พัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยและเหมาะสมกับนักเรียนโดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ
v จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน สามารถเลือกใช้และสร้างสื่ออุปกรณ์
ที่ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และสามารถจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนได้
v ใช้จิตวิทยาให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละคน เช่น นักเรียนคนนี้ให้แรงจูงใจเพียงอย่าง
เดียวก็สามารถตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ได้ แต่อีกคนเราต้องใช้ทั้งแรงจูงใจและการเสริมแรง
v มีการวัดผลและประเมินผลในหลาย ๆ ด้าน ไม่ใช้ข้อสอบเพียงอย่างเดียว แต่ต้องใช้การ
ทดลองในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งการประเมินผลตามสภาพจริงด้วย
v บริหารจัดการในห้องเรียน โดยการนำเอานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการ
เรียนการสอนวิทยาศาสตร์ได้
v ทำการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น นักเรียนไม่
เข้าใจการบรรยายของเรา เราก็อาจต้องให้นักเรียนสังเกตและทดลองด้วยตนเอง
v ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาให้เหมาะสมและมีความทันสมัยตามทันโลก
แห่งการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้
v มีความเป็นครู มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เมตตากรุณา เป็นแบบอย่างที่ดีงาม และมี
คุณธรรมจริยธรรม
4. นักเรียนเก่ง ดี และมีความสุข
เมื่อเราได้นำความรู้ที่เรามีไปใช้อย่างสมบูรณ์แล้ว ย่อมส่งผลดีแก่นักเรียนให้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่เราต้องการ ซึ่งคุณลักษณะที่พึงประสงค์นี้ ได้แก่
ü เก่ง = คำว่า “เก่ง” ในที่นี้หมายถึง มีความรู้ความสามารถในด้านวิชาการ เชี่ยวชาญทั้ง
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริง มีความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์ เก่งในด้านดนตรีและกีฬาด้วย หรืออาจเรียกอย่างง่ายว่า “เก่งทั้งเรียนและเล่น”
ü ดี = คำว่า “ดี” ในที่นี้หมายถึง มีคุณธรรมและจริยธรรมนำจิตใจ รู้หน้าที่ ประหยัด
อดทน ขยันและมีวินัย เสียสละ มีเหตุผล มีค่านิยมประชาธิปไตย มีเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เห็นอกเห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน นอกจากนั้นแล้วยังเป็นนักกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอุทิศตนเพื่อพัฒนาสังคม พัฒนาเพื่อนมนุษย์ ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้พบเห็น อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ
ü มีความสุข = คำว่า “มีความสุข” ในที่นี้หมายถึง มีความสุขทางกาย ซึ่งก็คือ มีสุขภาพ
ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และต้องมีความสุขทางใจด้วย ซึ่งก็คือ ไม่มีความคิดอิจฉาริษยา ไม่โกรธ ไม่ลุ่มหลงในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่มีความโลภที่จะได้ของของผู้อื่นมาเป็นของตน ไม่มีความวิตกและกังวล สงบเสงี่ยม มีจิตใจที่บริสุทธิ์ คิดดีทำดี ร่าเริงแจ่มใส มีความรักความอบอุ่น ไม่เบียดเบียนผู้อื่น สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
ทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นจะจบลงที่นักเรียน เก่ง ดี และมีความสุขไม่ได้ หากตัวเราซึ่ง
เป็นครูขาดตกบกพร่องในเรื่องใดเรื่องหนึ่งใน 9 มาตรฐานวิชาชีพครู หรือไม่นำความรู้ที่มีไปใช้ไปปฏิบัติ อีกทั้งยังขาดการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นเราผู้ซึ่งจะออกไปประกอบวิชาชีพครูในอนาคต ควรเร่งหาความรู้และนำความรู้มาจัดการให้มีประสิทธิภาพตั้งแต่วันนี้ ก่อนที่เราจะนำความรู้ไปจัดการความรู้จริงให้แก่นักเรียนในอนาคต และที่สำคัญเลยเราต้องประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นคนที่มีคุณธรรมจริยธรรม เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้พบเห็นรวมทั้งนักเรียนของเราในอนาคตด้วย
Credit:
1. หนังสือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา (http://www.ksp.or.th/upload/278/files/434-2333.pdf)
3. http://registrar.nsru.ac.th/graduate/thesis_article/filelist_download1.asp?ArticleID=15&action=add
4. http://www.learners.in.th
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)